การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังขณะฟอกเลือด

ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มีจำเป็นต้องฟอกเลือดที่โรงพยาบาล ซึ่งจะใช้เวลาอย่างน้อย 4 ชั่วโมง อาจทำให้เกิดอาการเมื่อยล้า รวมถึงสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจไม่ดีไปด้วย ดังนั้น การออกกำลังกายในระหว่างฟอกเลือดจะช่วยให้ผู้ป่วยมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีขึ้น ลดความเมื่อยล้า ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น โดยให้อยู่ภายใต้การควบคุมหรือได้รับคำปรึกษาจากแพทย์อย่างเคร่งครัด

คำแนะนำ ผู้ป่วยที่มีเส้นฟอกเลือดบริเวณลำคอ (PERM CATH) สามารถออกกำลังกายได้ตามปกติ กรณีผู้ป่วยที่มีเส้นฟอกเลือดบริเวณแขนหรือขา (AVF / AVG) ให้ออกกำลังกายเฉพาะข้างที่ไม่มีเส้นฟอกเลือด

ในระหว่างการออกกำลังกายหากผู้ป่วยมีอาการดังต่อไปนี้ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ทันที

  1. มีความรู้สึกเหนื่อยมาก 
  2. หายใจไม่สะดวกหรือหายใจหอบเหนื่อย
  3. เจ็บแน่นหน้าอกหรือใจสั่น
  4. มีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง
  5. เป็นตะคริว
  6. หน้ามืด เวียนศีรษะ

การออกกำลังกายขณะฟอกเลือด

การออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพปอดและการหายใจ

ท่าที่ 1 หายใจเข้า-ออก วางมือทั้ง 2 ข้างบริเวณชายโครง หายใจเข้าทางจมูก แล้วหายใจออกทางปาก ทำ 10 ครั้ง

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

             

การออกกำลังกายกล้ามเนื้อแขน

เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของแขน ป้องกันการยึดติดของข้อต่างๆ และช่วยให้ทรวงอกขยายตัวได้ดีขึ้น

ท่าที่ 1 กำมือ-แบมือ ตั้งแขนทั้ง 2 ข้างเข้าข้างลำตัว กำมือแล้วปล่อยมือให้สุด ทำ 20 ครั้ง

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ท่าที่ 2 งอศอกสลับกับเหยียดศอก วางแขนข้างลำตัว กำมือพร้อมงอศอกเข้าหาตัวให้สุด เหยียดศอกลงให้สุด ทำ 20 ครั้ง

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ท่าที่ 3 ยกแขนขึ้น-ลง วางแขนข้างลำตัว เหยียดแขนทั้ง 2 ข้างขึ้นเหนือศีรษะ วางมือลงข้างลำตัว ทำ 20 ครั้ง     

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ท่าที่ 4 กางแขนและหุบแขน กางแขนทั้ง 2 ข้างให้สุด ยกแขนขึ้นด้านบนพร้อมหุบเข้าให้สุด ทำ 20 ครั้ง

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

การออกกำลังกายกล้ามเนื้อขา

เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของขา และกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด

ท่าที่ 1 กระดกปลายเท้าขึ้น-ลง กระดกปลายเท้าขึ้น-ลงพร้อมกันทั้งสองข้าง ทำ 20 ครั้ง

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ท่าที่ 2 งอเข่า-เหยียดเข่า เหยียดขาตรงทั้ง 2 ข้าง ชันเข่าขึ้นข้างนึงให้ฝ่าเท้าแนบพื้น ค่อยๆ วางขาลง ทำ 10 - 20 ครั้ง เสร็จแล้วทำสลับข้างกัน

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ท่าที่ 3 เหยียดขาและกางขา เหยียดขาตรงทั้ง 2 ข้าง กางขาออกไปด้านข้างทำมุมประมาณ 45 องศา ปลายเท้าตั้งตรง ทำ 20 ครั้ง เสร็จแล้วสลับข้างกัน

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

 

ท่าที่ 4 เหยียดขาและยกส้นเท้า เหยียดขาตรงทั้ง 2 ข้าง ยกส้นเท้าให้พ้นพื้น ปลายเท้าตั้งตรง ทำ 10 ครั้ง เสร็จแล้วทำสลับข้างกัน

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ท่าที่ 5 วางขาบนหมอนเหยียดขาตรง วางหมอนหรือผ้าขนหนูหนาๆ ใต้ขา เหยียดขาขึ้นปลายเท้าตั้งตรง ทำ 20 ครั้ง เสร็จแล้วทำสลับข้างกัน

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ข้อจำกัดในการออกกำลังกายขณะฟอกเลือด

  • ประเภทเครื่องฟอกเลือดที่แตกต่างกัน
  • ระดับความหนักของการออกกำลังกาย (Intensity of exercise)
  • ประเภทของวิธีการที่ใช้

ประโยชน์ของการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

  1. เสริมสร้างให้ผู้ป่วยสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ใกล้เคียงปกติ
  2. เพิ่มหรือคงความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ
  3. ควบคุมความดันโลหิต
  4. ช่วยเพิ่มอัตราการนำไขมันไปใช้ (ลดคอเลสเตอรอล และไตรกีเซอไรด์)
  5. ช่วยให้นอนหลับดี
  6. ช่วยควบคุมน้ำหนัก
  7. ลดภาวะซึมเศร้าและความกังวล
  8. ช่วยลดระดับความต้านทานอินซูลิน
  9. เสริมสร้างระบบหัวใจและหลอดเลือด
  10. เสริมสร้างการทำงานของไต ตับ และระบบย่อยอาหาร

     

Thermage นวัตกรรมยกกระชับผิวโดยไม่ต้องผ่าตัด โดย ศ.นพ.วรพงษ์ มนัสเกียรติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศูนย์ผิวหนัง โรงพยาาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์

 

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คลิก!! ศูนย์โรคไต ชั้น 6 โซน C

ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มีจำเป็นต้องฟอกเลือดที่โรงพยาบาล ซึ่งจะใช้เวลาอย่างน้อย 4 ชั่วโมง อาจทำให้เกิดอาการเมื่อยล้า รวมถึงสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจไม่ดีไปด้วย ดังนั้น การออกกำลังกายในระหว่างฟอกเลือดจะช่วยให้ผู้ป่วยมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีขึ้น ลดความเมื่อยล้า ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น โดยให้อยู่ภายใต้การควบคุมหรือได้รับคำปรึกษาจากแพทย์อย่างเคร่งครัด

คำแนะนำ ผู้ป่วยที่มีเส้นฟอกเลือดบริเวณลำคอ (PERM CATH) สามารถออกกำลังกายได้ตามปกติ กรณีผู้ป่วยที่มีเส้นฟอกเลือดบริเวณแขนหรือขา (AVF / AVG) ให้ออกกำลังกายเฉพาะข้างที่ไม่มีเส้นฟอกเลือด

ในระหว่างการออกกำลังกายหากผู้ป่วยมีอาการดังต่อไปนี้ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ทันที

  1. มีความรู้สึกเหนื่อยมาก 
  2. หายใจไม่สะดวกหรือหายใจหอบเหนื่อย
  3. เจ็บแน่นหน้าอกหรือใจสั่น
  4. มีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง
  5. เป็นตะคริว
  6. หน้ามืด เวียนศีรษะ

การออกกำลังกายขณะฟอกเลือด

การออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพปอดและการหายใจ

ท่าที่ 1 หายใจเข้า-ออก วางมือทั้ง 2 ข้างบริเวณชายโครง หายใจเข้าทางจมูก แล้วหายใจออกทางปาก ทำ 10 ครั้ง

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

             

การออกกำลังกายกล้ามเนื้อแขน

เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของแขน ป้องกันการยึดติดของข้อต่างๆ และช่วยให้ทรวงอกขยายตัวได้ดีขึ้น

ท่าที่ 1 กำมือ-แบมือ ตั้งแขนทั้ง 2 ข้างเข้าข้างลำตัว กำมือแล้วปล่อยมือให้สุด ทำ 20 ครั้ง

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ท่าที่ 2 งอศอกสลับกับเหยียดศอก วางแขนข้างลำตัว กำมือพร้อมงอศอกเข้าหาตัวให้สุด เหยียดศอกลงให้สุด ทำ 20 ครั้ง

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ท่าที่ 3 ยกแขนขึ้น-ลง วางแขนข้างลำตัว เหยียดแขนทั้ง 2 ข้างขึ้นเหนือศีรษะ วางมือลงข้างลำตัว ทำ 20 ครั้ง     

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ท่าที่ 4 กางแขนและหุบแขน กางแขนทั้ง 2 ข้างให้สุด ยกแขนขึ้นด้านบนพร้อมหุบเข้าให้สุด ทำ 20 ครั้ง

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

การออกกำลังกายกล้ามเนื้อขา

เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของขา และกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด

ท่าที่ 1 กระดกปลายเท้าขึ้น-ลง กระดกปลายเท้าขึ้น-ลงพร้อมกันทั้งสองข้าง ทำ 20 ครั้ง

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ท่าที่ 2 งอเข่า-เหยียดเข่า เหยียดขาตรงทั้ง 2 ข้าง ชันเข่าขึ้นข้างนึงให้ฝ่าเท้าแนบพื้น ค่อยๆ วางขาลง ทำ 10 - 20 ครั้ง เสร็จแล้วทำสลับข้างกัน

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ท่าที่ 3 เหยียดขาและกางขา เหยียดขาตรงทั้ง 2 ข้าง กางขาออกไปด้านข้างทำมุมประมาณ 45 องศา ปลายเท้าตั้งตรง ทำ 20 ครั้ง เสร็จแล้วสลับข้างกัน

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

 

ท่าที่ 4 เหยียดขาและยกส้นเท้า เหยียดขาตรงทั้ง 2 ข้าง ยกส้นเท้าให้พ้นพื้น ปลายเท้าตั้งตรง ทำ 10 ครั้ง เสร็จแล้วทำสลับข้างกัน

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ท่าที่ 5 วางขาบนหมอนเหยียดขาตรง วางหมอนหรือผ้าขนหนูหนาๆ ใต้ขา เหยียดขาขึ้นปลายเท้าตั้งตรง ทำ 20 ครั้ง เสร็จแล้วทำสลับข้างกัน

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

การออกกำลังกายสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ขณะฟอกเลือด (Kidney exercise)

        

ข้อจำกัดในการออกกำลังกายขณะฟอกเลือด

  • ประเภทเครื่องฟอกเลือดที่แตกต่างกัน
  • ระดับความหนักของการออกกำลังกาย (Intensity of exercise)
  • ประเภทของวิธีการที่ใช้

ประโยชน์ของการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง

  1. เสริมสร้างให้ผู้ป่วยสามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ใกล้เคียงปกติ
  2. เพิ่มหรือคงความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ
  3. ควบคุมความดันโลหิต
  4. ช่วยเพิ่มอัตราการนำไขมันไปใช้ (ลดคอเลสเตอรอล และไตรกีเซอไรด์)
  5. ช่วยให้นอนหลับดี
  6. ช่วยควบคุมน้ำหนัก
  7. ลดภาวะซึมเศร้าและความกังวล
  8. ช่วยลดระดับความต้านทานอินซูลิน
  9. เสริมสร้างระบบหัวใจและหลอดเลือด
  10. เสริมสร้างการทำงานของไต ตับ และระบบย่อยอาหาร

     

Thermage นวัตกรรมยกกระชับผิวโดยไม่ต้องผ่าตัด โดย ศ.นพ.วรพงษ์ มนัสเกียรติ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญศูนย์ผิวหนัง โรงพยาาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์

 

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คลิก!! ศูนย์โรคไต ชั้น 6 โซน C


ค้นหาแพทย์

สาระสุขภาพ

ศูนย์รักษาโรคเฉพาะทาง